ฟิตเนสบอดี้

นักวิ่งมือใหม่ วิธีหายใจตอนวิ่ง ที่ถูกต้อง ต้องทำยังไง

นักวิ่งมือใหม่ วิธีหายใจตอนวิ่ง ที่ถูกต้อง ต้องทำยังไง

นักวิ่งมือใหม่ วิธีหายใจตอนวิ่ง ที่ถูกต้อง ต้องทำยังไง เพราะว่าการออกกำลังกายนั้น นับได้ว่าเป็นอีกหนึ่งกิจกรรมสำคัญ ที่จะช่วย เสริมสร้างความแข็งแรงให้กับ สุขภาพร่างกาย ของผู้คน ได้เป็นอย่างดี โดยจะพบว่าในปัจจุบันนี้ ทุกคนเริ่มหันมา สนใจ การออกกำลังกายกันมากขึ้น ทั้งนี้การออกกำลังกายนั้น สามารถทำได้หลากหลายรูปแบบ แต่หากจะถามว่า ออกกำลังกายรูปแบบไหน ที่ได้รับความนิยม มากที่สุด ในปัจจุบัน แน่นอนว่า การออกกำลังกายด้วยการวิ่ง ความนิยมใหม่ที่ ในช่วง 2-3 ปีมานี้ มีผู้คนหันมาออกกำลังกายด้วยการวิ่ง เพิ่มมากขึ้น เป็น ประวัติการ เลยทีเดียว

อย่างไรก็ตาม ถึงแม้ว่าการวิ่งนั้น จะถือเป็นการออกกำลังกาย ที่มีประโยชน์ อย่างมาก แต่ทว่าการจะวิ่งให้ได้ประสิทธิภาพ ที่ดีนั้น ไม่เพียงแต่จะต้อง วิ่งด้วยท่าวิ่งที่ถูกต้อง เท่านั้น แต่อีกหนึ่งองค์ประกอบ อย่างเช่น การหายใจขณะวิ่ง ก็ถือเป็นอีกหนึ่ง ปัจจัย สำคัญ สำหรับ นักวิ่งทั้งหลาย เช่นเดียวกัน

เรียกได้ว่าจะวิ่งได้นาน หรือวิ่งได้อึดแค่ไหน การวิธีหายใจตอนวิ่ง ถือเป็นกุญแจสำคัญเลยทีเดียว ในความเป็นจริงนั้น การหายใจตอนวิ่ง เป็นรูปแบบการหายใจที่แตกต่างจากการหายใจแบบปกติ เป็นอย่างมาก ด้วยเหตุนี้เอง เหล่านักวิ่งมือใหม่ทั้งหลาย จึงควรที่จะเรียนรู้และฝึกฝนวิธีการหายใจตอนวิ่งให้ถูกวิธี ทั้งนี้ก็เพื่อ ให้สามารถออกวิ่งได้อย่างมีประสิทธิภาพ และ รู้สึกดีในขณะที่วิ่งโดยไม่เหนื่อยง่ายๆ นั่นเอง

 

มารู้จัก วิธีหายใจตอนวิ่ง ที่ถูกต้อง

สำหรับการฝึกหายใจขณะวิ่ง ที่ถูกต้อง นั้น ควรฝึกหายใจตอนวิ่งให้ถูกวิธี ด้วยการหายใจโดยท้อง หรือใช้กล้ามเนื้อกระบังลม
การหายใจด้วยท้องหรือกล้ามเนื้อกระบังลม นั้น เป็นวิการฝึกหายใจขณะวิ่งด้วยการสูดอากาศ เพื่อให้ออกซิเจน สามารถเข้าสู่ปอด ได้ มากที่สุด โดยเมื่อหายใจเข้า ส่วนบริเวณกล้ามเนื้อ กระบังลมนั้นจะมีการเคลื่อนที่ลง จนเปิดทางให้อากาศเข้าสู่ปอดได้เป็นจำนวนมาก ฉันสามารถ มองเห็นได้ว่าบริเวณส่วนของหน้าท้องนั้นจะมีการพองตัวมากยิ่งขึ้น และจะยุบตัวลง เมื่อหายใจออก
ซึ่ง การหายใจรูปแบบนี้ จะช่วยให้สามารถ วิ่งได้ ในระยะเวลานานๆ โดยไม่ต้องกังวลว่า อาจจะเกิด อาการจุกเสียด ตรงบริเวณ ชายโครง อีกครั้งรูปแบบการหายใจ ด้วยวิธีนี้ ยังจะช่วย ลดอัตราการเต้นของหัวใจ ได้ เป็นอย่างดี อีกครั้งยังทำให้ออกซิเจน เข้าสู่ปอด ได้มากยิ่งขึ้นอีกด้วย

ศึกษาการ แบ่งจังหวะ สำหรับ วิธีหายใจตอนวิ่ง ที่เหมาะสำหรับ นักวิ่ง

นอกเหนือจากรูปแบบการหายใจ ในขณะวิ่งที่ถูกต้องแล้ว อีกหนึ่งองค์ประกอบสำคัญที่ จะขาดไปไม่ได้ เช่นเดียวกัน นั่นก็คือการแบ่งจังฝึกจังหวะหายใจตอนวิ่ง นั่นเอง ทั้งนี้โดยทั่วไปแล้ว การแบ่งจังหวะหายใจที่ถูกต้องนั้น จะต้องสัมพันธ์กับการลงจังหวะเท้า จึงจะทำให้สามารถวิ่งได้อย่างมีประสิทธิภาพ มากยิ่งขึ้นเนื่องจาก กล้ามเนื้อปอด และกระบังลมสามารถทำงานประสานกันได้ดีจน มีอากาศและลมสะสมหล่อเลี้ยงอยู่ภายในร่างกาย มากเพียงพอ ในระหว่างการวิ่ง ทั้งนี้ สำหรับการฝึกจังหวะหายใจ ในขณะวิ่งเบื้องต้น ที่เราได้นำทาแนะนำกันใน วันนี้ มีอยู่ 2 รูปแบบด้วยกันได้แก่

1. รูปแบบจังหวะการหายใจ แบบ 3:3
รูปแบบการหายใจ 3:3 นี้ จะเป็นการใช้วิธีเมื่อหายใจเข้า ให้นับก้าว ได้ 3 ก้าว และหายใจออก ให้นับได้ 3 ก้าวเช่นกัน โดยเมื่อเริ่ม ให้ก้าวเท้าขวา ก่อนจะทำการนับ 1 พร้อมกับหายใจเข้า จากนั้นให้ก้าวเท้าซ้าย เมื่อลงพื้นให้นับ 2 และต่อไป เมื่อลงเท้าขวา ให้เป็นนับ 3 ก่อน นับจะนับเช่นเดียวกัน เมื่อหายใจออก
โดยวิธีการหายใจ ด้วยจังหวะ 3:3 นี้ เหมาะสำหรับ การวิ่งแบบที่ไม่ต้องใช้ความเร็วสูง นั่นเอง

2. รูปแบบจังหวะการหายใจ แบบ 3:2
สำหรับ การฝึกหายใจในรูปแบบ 3:2 นี้ ถือเป็นวิธีการจังหวะหายใจขณะสิ่ง ที่ยากกว่า แบบ 3:3 โดยแม้ว่า จะมีพื้นฐานการก้าวเท้า พร้อมกำหนดลมหายใจที่เหมือนกันแต่ทว่า จะใช้วิธีนับ 3 ก้าว เมื่อหายใจเข้า และนับเพียง 2 ก้าวเท่านั้น เมื่อหายใจออก

 

โดยการ หายใจ ด้วยจังหวะ 3:2 นี้ ถึงแม้จะมีความยากมากกว่า ในขณะฝึกฝน แต่ทว่ากับให้ผลลัพธ์ที่ดีและช่วยลดอาการบาดเจ็บในขณะวิ่งได้มีประสิทธิภาพมากกว่า เนื่องจาก ในจังหวะที่หายใจเข้านั้น ส่วนของกล้ามเนื้อ จะมีการยืดหด เพื่อสร้าง ความ มั่นคงให้กับ บริเวณกล้ามเนื้อ แกนกลางของลำตัว และเมื่อถึงจังหวะที่หายใจออก กล้ามเนื้อจะมีการยืดตัว จนความเสถียรของกล้ามเนื้อบริเวณแกนกลางลำตัวนั้นลดน้อยลง

ด้วยเหตุนี้เอง การนับจังหวะ 3:2 จุงจะทำให้ ในจังหวะที่ลงน้ำหนักขา กับพื้น นั้น ตรงกับช่วงที่หายใจเข้ามากกว่า ซึ่งนั่นหมายถึง ความมั่นคงของแกนกลางลำตัว มีความพร้อมที่จะ รับแรงกระแทก ในการ ก้าวเท้า ลงน้ำหนัก เป็นอย่างดี ทำให้สามารถวิ่งได้ อยากมีประสิทธิภาพและยาวนานมากขึ้น โดยไม่เสียงที่จะ ได้รับบาดเจ็บ หรือเกิดอาการ จุกเสียดบริเวณชายโครง นั่นเอง

 

 


ใส่ความเห็น

อีเมลของคุณจะไม่แสดงให้คนอื่นเห็น ช่องข้อมูลจำเป็นถูกทำเครื่องหมาย *